การวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคม สำหรับนักศึกษาและผู้ปฏิบัติงานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคม สำหรับนักศึกษาและผู้ปฏิบัติงานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Author : พงษ์เทพ สันติกุล
- ISBN :9786163148612
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 392
- ขนาดไฟล์ : 15.96 MB
หนังสือเล่มนี้นำเสนอวิธีการวิจัยด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการแสวงหาความรู้เชิงประจักษ์มาใช้ในการวิจัยด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ที่ได้รับการยอมรับว่ามีส่วนผสมทั้งศาสตร์และศิลป์ในตัวเอง และการดำเนินงานส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพ ความเป็นอยู่ ตลอดจนคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไป การวิจัยแสวงหาความรู้สำหรับกำหนดนโยบายและการปฏิบัติงานจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ช่วยยกระดับคุณภาพของนโยบายและการปฏิบัติงานให้บริการให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
นอกจากจะแนะนำขั้นตอนการวิจัยที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเองแล้ว ในบทที่ 1, 2, 3 และ 4ยังนำเสนอความเป็นวิทยาศาสตร์ ลักษณะเฉพาะ และจรรยาบรรณของการวิจัยด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน นิสิตนักศึกษา และผู้สนใจในงานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
สารบัญ
บทที่ 1 วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สังคม และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคม
บทที่ 2 ฐานคติ แนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการแสวงหาความรู้
บทที่ 3 จรรยาบรรณการวิจัยและการวิจัยในคน
บทที่ 4 รูปแบบการวิจัย
บทที่ 5 การกำหนดหัวข้อการวิจัย
บทที่ 6 การทบทวนวรรณกรรม
บทที่ 7 ประชากร ตัวอย่าง และการสุ่มตัวอย่าง
บทที่ 8 ตัวแปรและสมมติฐาน
บทที่ 9 กรอบแนวคิดการวิจัย
บทที่ 10 การเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 11 การวัดและเครื่องมือการวิจัย
บทที่ 12 การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 13 การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 14 การจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย
ฯลฯ
หนังสือเล่มนี้นำเสนอวิธีการวิจัยด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการแสวงหาความรู้เชิงประจักษ์มาใช้ในการวิจัยด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ที่ได้รับการยอมรับว่ามีส่วนผสมทั้งศาสตร์และศิลป์ในตัวเอง และการดำเนินงานส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพ ความเป็นอยู่ ตลอดจนคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไป การวิจัยแสวงหาความรู้สำหรับกำหนดนโยบายและการปฏิบัติงานจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ช่วยยกระดับคุณภาพของนโยบายและการปฏิบัติงานให้บริการให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
นอกจากจะแนะนำขั้นตอนการวิจัยที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเองแล้ว ในบทที่ 1, 2, 3 และ 4ยังนำเสนอความเป็นวิทยาศาสตร์ ลักษณะเฉพาะ และจรรยาบรรณของการวิจัยด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน นิสิตนักศึกษา และผู้สนใจในงานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
สารบัญ
บทที่ 1 วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สังคม และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคม
บทที่ 2 ฐานคติ แนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการแสวงหาความรู้
บทที่ 3 จรรยาบรรณการวิจัยและการวิจัยในคน
บทที่ 4 รูปแบบการวิจัย
บทที่ 5 การกำหนดหัวข้อการวิจัย
บทที่ 6 การทบทวนวรรณกรรม
บทที่ 7 ประชากร ตัวอย่าง และการสุ่มตัวอย่าง
บทที่ 8 ตัวแปรและสมมติฐาน
บทที่ 9 กรอบแนวคิดการวิจัย
บทที่ 10 การเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 11 การวัดและเครื่องมือการวิจัย
บทที่ 12 การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 13 การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 14 การจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย
ฯลฯ
นอกจากจะแนะนำขั้นตอนการวิจัยที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตนเองแล้ว ในบทที่ 1, 2, 3 และ 4ยังนำเสนอความเป็นวิทยาศาสตร์ ลักษณะเฉพาะ และจรรยาบรรณของการวิจัยด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน นิสิตนักศึกษา และผู้สนใจในงานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
สารบัญ
บทที่ 1 วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สังคม และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคม
บทที่ 2 ฐานคติ แนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการแสวงหาความรู้
บทที่ 3 จรรยาบรรณการวิจัยและการวิจัยในคน
บทที่ 4 รูปแบบการวิจัย
บทที่ 5 การกำหนดหัวข้อการวิจัย
บทที่ 6 การทบทวนวรรณกรรม
บทที่ 7 ประชากร ตัวอย่าง และการสุ่มตัวอย่าง
บทที่ 8 ตัวแปรและสมมติฐาน
บทที่ 9 กรอบแนวคิดการวิจัย
บทที่ 10 การเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 11 การวัดและเครื่องมือการวิจัย
บทที่ 12 การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 13 การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 14 การจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย
ฯลฯ