สิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาในการออกแบบโรงพยาบาล
สิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาในการออกแบบโรงพยาบาล
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
2/2 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : CHIANG MAI UNIVERSITY PRESS
- Author : ธานัท วรุณกุล
- ISBN :9786163984999
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 194
- ขนาดไฟล์ : 152.93 MB
หนังสือเล่มนี้ใช้เป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงทางการศึกษาถึงแนวทางในการออกแบบปรัลปรุงโร
งพยาบาลหรือ อาคารสถานที่อื่นๆที่ต้องการให้สิ่งแวดล้อมที่ถูกออกแบบปรับปรุงช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ใช้งานภายในอาคาร หรือ สถานที่นั้นๆผู้เขียนได้นำความรู้ที่ได้จากการดำเนินการวิจัยมาสรุปปัจจัยของสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา รวมถึงข้อมูลที่ได้มาจากงานวิจัยต่างๆที่มีปรากฏหลักฐาน (Evidence-based Design) มาสรุปอ้างอิงอธิบาย ทั้งนี้ ผู้เขียนได้นำประสบการณ์ที่ได้จากการวิจัยกับกรณีศึกษาประเทศในยุโรป(เดนมาร์ก นอร์เวย์) สิงค์โปร์ และไทย มาทำการวิเคราะห์ อธิบาย สรุป เปรียบเทียบเพื่อให้เห็นความสำคัญแนวทางวิธีคิดในการนำเอาทฤษฏีปัจจัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการเยียวยามาใช้กับอาคารโรงพยาบาลในแต่ละประเทศด้วย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไปได้เกิดแนวคิดความเข้าใจในการออกแบบปรับปรุงต่อไป
หนังสือเล่มนี้ใช้เป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงทางการศึกษาถึงแนวทางในการออกแบบปรัลปรุงโร
งพยาบาลหรือ อาคารสถานที่อื่นๆที่ต้องการให้สิ่งแวดล้อมที่ถูกออกแบบปรับปรุงช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ใช้งานภายในอาคาร หรือ สถานที่นั้นๆผู้เขียนได้นำความรู้ที่ได้จากการดำเนินการวิจัยมาสรุปปัจจัยของสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา รวมถึงข้อมูลที่ได้มาจากงานวิจัยต่างๆที่มีปรากฏหลักฐาน (Evidence-based Design) มาสรุปอ้างอิงอธิบาย ทั้งนี้ ผู้เขียนได้นำประสบการณ์ที่ได้จากการวิจัยกับกรณีศึกษาประเทศในยุโรป(เดนมาร์ก นอร์เวย์) สิงค์โปร์ และไทย มาทำการวิเคราะห์ อธิบาย สรุป เปรียบเทียบเพื่อให้เห็นความสำคัญแนวทางวิธีคิดในการนำเอาทฤษฏีปัจจัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการเยียวยามาใช้กับอาคารโรงพยาบาลในแต่ละประเทศด้วย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไปได้เกิดแนวคิดความเข้าใจในการออกแบบปรับปรุงต่อไป
งพยาบาลหรือ อาคารสถานที่อื่นๆที่ต้องการให้สิ่งแวดล้อมที่ถูกออกแบบปรับปรุงช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ใช้งานภายในอาคาร หรือ สถานที่นั้นๆผู้เขียนได้นำความรู้ที่ได้จากการดำเนินการวิจัยมาสรุปปัจจัยของสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา รวมถึงข้อมูลที่ได้มาจากงานวิจัยต่างๆที่มีปรากฏหลักฐาน (Evidence-based Design) มาสรุปอ้างอิงอธิบาย ทั้งนี้ ผู้เขียนได้นำประสบการณ์ที่ได้จากการวิจัยกับกรณีศึกษาประเทศในยุโรป(เดนมาร์ก นอร์เวย์) สิงค์โปร์ และไทย มาทำการวิเคราะห์ อธิบาย สรุป เปรียบเทียบเพื่อให้เห็นความสำคัญแนวทางวิธีคิดในการนำเอาทฤษฏีปัจจัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการเยียวยามาใช้กับอาคารโรงพยาบาลในแต่ละประเทศด้วย เพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไปได้เกิดแนวคิดความเข้าใจในการออกแบบปรับปรุงต่อไป