ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร
ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร
คงเหลือ | รอคิว | รอ/วัน |
---|---|---|
1/1 | 0 | 0 |
- ประเภท : อีบุ๊ก
- สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์มติชน
- Author : ศักดิ์ชัย สายสิงห์
- ISBN :9789740214977
- ภาษา : ไทย
- จำนวนหน้า : 322
- ขนาดไฟล์ : 17.07 MB
ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร
แหล่งกำเนิดศิลปกรรมไทย ก่อนอยุธยา และสมัยอยุธยา
ผู้เขียน ศ.ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์
พื้นที่ลพบุรีแต่เดิมจะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมขอมอยู่มาก ซึ่งหลังจากวัฒนธรรมขอมหมดไป ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงพุทธศตวรรษที่ 19 หรือที่เราเรียกกันว่าอาณาจักรละโว้ อันเป็นช่วงเวลาที่ลพบุรีมีการพัฒนารูปแบบศิลปกรรมเป็นของตนเอง อาจกล่าวได้ว่า พัฒนาจาก ปราสาทขอม สู่ ปรางค์ไทย หนังสือ ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร เล่มนี้ ผู้เขียนได้วิเคราะห์หลักฐานทางศิลปกรรมที่เมืองลพบุรี ระหว่างช่วงระยะเวลา พุทธศตวรรษที่ 18-23 ทำให้ทราบได้ว่าช่วงสมัยต้นอยุธยา ทั้งงานช่างและกลุ่มคน น่าจะได้รับอิทธิพล และมีที่มาจากลพบุรีเป็นหลัก รวมไปถึงสมเด็จพระเจ้าอู่ทองด้วยเช่นกัน ศิลปกรรมที่ปรากฏอยู่ภายในเล่ม มีความครอบคลุมงานช่างลพบุรีครบถ้วนที่สุด ทั้งด้านงานสถาปัตยกรรม งานประติมากรรม และครอบคลุมไปถึงช่วงสมัยอยุธยาตอนปลายเช่นเดียวกัน
สารบัญ
1. ศิลปะลพบุรี (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19)
2. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนต้น (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20)
3. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนกลาง (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 22)
4. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนปลาย (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 22 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23)
5. บทสรุป พัฒนาการของเมืองลพบุรี มองผ่านงานศิลปกรรม ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23
ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร
แหล่งกำเนิดศิลปกรรมไทย ก่อนอยุธยา และสมัยอยุธยา
ผู้เขียน ศ.ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์
พื้นที่ลพบุรีแต่เดิมจะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมขอมอยู่มาก ซึ่งหลังจากวัฒนธรรมขอมหมดไป ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงพุทธศตวรรษที่ 19 หรือที่เราเรียกกันว่าอาณาจักรละโว้ อันเป็นช่วงเวลาที่ลพบุรีมีการพัฒนารูปแบบศิลปกรรมเป็นของตนเอง อาจกล่าวได้ว่า พัฒนาจาก ปราสาทขอม สู่ ปรางค์ไทย หนังสือ ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร เล่มนี้ ผู้เขียนได้วิเคราะห์หลักฐานทางศิลปกรรมที่เมืองลพบุรี ระหว่างช่วงระยะเวลา พุทธศตวรรษที่ 18-23 ทำให้ทราบได้ว่าช่วงสมัยต้นอยุธยา ทั้งงานช่างและกลุ่มคน น่าจะได้รับอิทธิพล และมีที่มาจากลพบุรีเป็นหลัก รวมไปถึงสมเด็จพระเจ้าอู่ทองด้วยเช่นกัน ศิลปกรรมที่ปรากฏอยู่ภายในเล่ม มีความครอบคลุมงานช่างลพบุรีครบถ้วนที่สุด ทั้งด้านงานสถาปัตยกรรม งานประติมากรรม และครอบคลุมไปถึงช่วงสมัยอยุธยาตอนปลายเช่นเดียวกัน
สารบัญ
1. ศิลปะลพบุรี (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19)
2. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนต้น (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20)
3. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนกลาง (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 22)
4. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนปลาย (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 22 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23)
5. บทสรุป พัฒนาการของเมืองลพบุรี มองผ่านงานศิลปกรรม ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23
แหล่งกำเนิดศิลปกรรมไทย ก่อนอยุธยา และสมัยอยุธยา
ผู้เขียน ศ.ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์
พื้นที่ลพบุรีแต่เดิมจะมีอิทธิพลของวัฒนธรรมขอมอยู่มาก ซึ่งหลังจากวัฒนธรรมขอมหมดไป ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงพุทธศตวรรษที่ 19 หรือที่เราเรียกกันว่าอาณาจักรละโว้ อันเป็นช่วงเวลาที่ลพบุรีมีการพัฒนารูปแบบศิลปกรรมเป็นของตนเอง อาจกล่าวได้ว่า พัฒนาจาก ปราสาทขอม สู่ ปรางค์ไทย หนังสือ ลพบุรี หลังวัฒนธรรมเขมร เล่มนี้ ผู้เขียนได้วิเคราะห์หลักฐานทางศิลปกรรมที่เมืองลพบุรี ระหว่างช่วงระยะเวลา พุทธศตวรรษที่ 18-23 ทำให้ทราบได้ว่าช่วงสมัยต้นอยุธยา ทั้งงานช่างและกลุ่มคน น่าจะได้รับอิทธิพล และมีที่มาจากลพบุรีเป็นหลัก รวมไปถึงสมเด็จพระเจ้าอู่ทองด้วยเช่นกัน ศิลปกรรมที่ปรากฏอยู่ภายในเล่ม มีความครอบคลุมงานช่างลพบุรีครบถ้วนที่สุด ทั้งด้านงานสถาปัตยกรรม งานประติมากรรม และครอบคลุมไปถึงช่วงสมัยอยุธยาตอนปลายเช่นเดียวกัน
สารบัญ
1. ศิลปะลพบุรี (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 19)
2. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนต้น (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 20)
3. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนกลาง (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 22)
4. ศิลปกรรมเมืองลพบุรีในสมัยอยุธยาตอนปลาย (ระหว่างกลางพุทธศตวรรษที่ 22 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23)
5. บทสรุป พัฒนาการของเมืองลพบุรี มองผ่านงานศิลปกรรม ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 23